เครื่องตรวจวัดปริมาณความชื้นของเมล็ดพืชด้วยคลื่นความถี่วิทยุ

  • วิไลลักษณ์ ทองสิริพงศ์สมบัติ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเชียงใหม่
  • ชัยนาท ลีอัจฉริยะ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเชียงใหม่
  • วชิรญาณ์ คุ้มเนตร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเชียงใหม่
  • เอกทัศน์ พฤกษวรรณ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเชียงใหม่
  • นิพนธ์ เลิศมโนกุล สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเชียงใหม่
  • ศุภกิต แก้วดวงตา สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเชียงใหม่
  • สิทธิชัย เด่นตรี ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
Keywords: ค่าไดอิเล็กตริก, ความถี่วิทยุ, เครื่องวิเคราะห์ปริมาณความชื้น, ตัวเก็บประจุไฟฟ้า, เมล็ดพืช

Abstract

บทความนี้นําเสนอเครื่องตรวจวัดปริมาณความชื้นของเมล็ดพืชโดยอ้อมด้วยคลื่นความถี่วิทยุ ซึ่งเครื่องตรวจวัดปริมาณความชื้นนี้จะอาศัยหลักการเปลี่ยนแปลงค่าไดอิเล็กตริกของเมล็ดพืชที่เปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณความชื้นภายในโดยตัวเครื่องจะประกอบด้วยการทำงานของภาคตรวจจับความชื้นด้วยตัวเก็บประจุไฟฟ้า  ภาคกำเนิดสัญญาณความถี่ 50 MHz  ภาคแปลงระดับแรงดันและส่วนประมวลผล  เมื่อทำการสร้างและทดสอบด้วยเมล็ดพืชตัวอย่างชนิดข้าวโพดที่มีระดับความชื้นแตกต่างกัน 5 ระดับ พบว่าสามารถระบุค่าความชื้นของเมล็ดข้าวโพดได้เปรียบเทียบกับเครื่องที่มีจําหน่ายตามท้องตลาดทั่วไปและมีค่าความผิดพลาดอยู่ในช่วง 5-10% ซึ่งต้องทําการพัฒนาและสอบเทียบเครื่องต้นแบบต่อไป

References

เอกสารอ้างอิง

J. Duangpatra, “Seed testing and analysis,” Department of Agronomy, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok, 194. 1986 (in Thai).

Agricultural engineering, “Principles and important components of grain dehumidification,” Department of Agriculture, year 12(2), Apr. – Jun. 2000 (in Thai).

C. Samphunphuang K. Pipithsangchan P. Wongchang A. Songserm and S. Dachakumpoo, “Inflfluence of Seed Moisture Content and Storage Temperature to Safflflower Seeds Germination,” Thai Agricultural Research Journal, vol. 34, no. 1, pp. 65-75, Jan. – Apr. 2016 (in Thai).

P. Thuainak, M. Chuchonak, M. Yapha and P. Bunyawanichakul, “Review of Development of Paddy Dried in Industry,” SWU Engineering Journal, year 9(1), pp. 68-74. Jul.-Sep. 2018 (in Thai).

K. Thiminkun, “Study of factors affecting the determination of paddy moisture with moisture analyzer,” Post-Harvest Engineering, Agricultural Engineer Research Institule, 09-01-47-0202 (in Thai).

V. Thepent “Measurement of grain moisture,” Post-Harvest Engineering, Agricultural Engineer Research Institule, Department of Agriculture (in Thai).

C. Chaikul. Seed Moisture Meter EE-KU. [Online]. (2015). [Cited July 1, 2015]. Available: http://www2.rdi.ku.ac.th/ (in Thai).

P. Temeesak and P. Donsompai, “Efficiency of steinlite, gann and ctr800 seed moisture testers,” Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom (Thailand), Kasetsart University Research and Development Institute at Kamphaeng Saen, Central Laboratory and Greenhouse Complex. 1989 (in Thai).

K. Bunthan and P. Tuntialongkarn, “Wireless Moisture Meter for Unhusked Rice,”The 8th National Conference on Technical Education, Bangkok, pp. 7-12. Nov. 2015 (in Thai).

S. O. Nelson and S. Trabelsi, “Historical Development of Grain Moisture Measurement and Other Food Quality Sensing Through Electrical Properties,” IEEE Instrumentation & Measurement Magazine, vol. 19, issue 1, pp. 16 - 23, February 2016.

S.O. Nelson, “Sensing Moisture Content in Grain,” IEEE Instrumentation & Measurement Magazine, vol. 3, issue 1, pp. 17 – 20, Mar 2000.

D. Nathk and P. Ramanathan, “A Simplified and Portable Capacitance Sensor to Measure Moisture Content of Paddy,” Gazi University Journal of Science, vol. 31, no. 3, pp. 821- 829, 2018.

C. V. Kandala and J. Sundaram, “Nondestructive Measurement of Moisture Content Using a Parallel Plate Capacitance Sensor for Grain and Nuts,” IEEE Sensors Journal, vol. 10, no. 7, pp. 1282-1287, July 2010.

Maximintegrated, “Intermediate- frequency (IF) Voltage-controlled Oscillators (VCOs),” MAX2605-MAX2609 data sheet.

Maximintegrated, “50MHz to 1000MHz, 75dB Logarithmic Detector/ Controller,” MAX2014 data sheet.

arduino. [Online]. (2021). [Cited March 1, 2021]. Available: https://www.arduino.cc

Published
2021-06-29